สวพส. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการจัดทำแผนปฏิบัติงานแบบบูรณาการของโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ณ ห้องราชพฤกษ์ อาคารนิทรรศการ 1 อุทยานหลวงราชพฤกษ์ ตำบลแม่เหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ โดยมี ดร. ศิริพงศ์ หังสพฤกษ์ ที่ปรึกษาด้านการวางแผนและพัฒนาการเกษตร เป็นประธานเปิดงาน
อ่านต่อสวพส. จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างการบูรณาการและวัฒนธรรมองค์กร ณ โรงแรมกรีนเนอรี่รีสอร์ท เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
อ่านต่อพลเอกกัมปนาท รุดดิษฐ์ องคมนตรี ประธานคณะกรรรมการบริหาร มูลนิธิโครงการหลวง เป็นประธานในการประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผนปฏิบัติงานเชิงบูรณาการในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เพื่อให้การปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ
อ่านต่อพลเอกกัมปนาท รุดดิษฐ์ องคมนตรี ประธานกรรรมการบริหาร มูลนิธิโครงการหลวง เป็นประธานในการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การจัดทำแผนปฏิบัติงานของศูนย์พัฒนา โครงการหลวง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562” ณ ห้องประชุมอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ต.แม่เหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
อ่านต่อเกษตรกรที่มุ่งมั่นและทุ่มเทให้กับการเกษตรและพร้อมเรียนรู้ทุกอย่างจนทุกวันนี้ นายจอมทอง แห่งหมู่บ้านตอปล้าเด สามารถสร้างผลผลิตจากการปลูกผักและการเลี้ยงสัตว์ ซึ่งสร้างเป็นอาชีพที่ดีกว่าการปลูกอ้อยในอดีต
อ่านต่อสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) หรือ สวพส. มีภารกิจหลักในการวิจัยและพัฒนา เพื่อสนับสนุนงานโครงการหลวง และนำองค์ความรู้โครงการหลวงไปขยายผลสู่ชุมชนบนพื้นที่สูงให้ได้รับการพัฒนาทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนบนพื้นที่สูง ให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างยั่งยืน สนองพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ
อ่านต่อปกติในไร่นาของเกษตรกรหลังจากการเก็บเกี่ยวผลผลิตจะมีเศษพืชเหลืออยู่เป็นจำนวนมาก โดยปกติแล้วเกษตรกรจะทำการเผาทิ้ง เพื่อเตรียมปลูกพืชชนิดอื่นต่อ ทำให้เกิดผลกระทบมากมาย เช่น หมอกควันพิษ ไฟป่า และยังสูญเสียธาตุอาหารในดินอีกด้วย ดังนั้นการทำปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับกองจึงเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ช่วยแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการเผาได้ และยังได้ปุ๋ยหมักที่สามารถนำมาใช้ในการปรับปรุงบำรุงดินอีกทางหนึ่งด้วย
อ่านต่อสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) ได้ทำหน้าที่ในการนำองค์ความรู้โครงการหลวงไปขยายผลสู่ชุมชนอย่างน้อย 180 ชุมชน โดยนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สร้างความมั่นคงทางอาหารเน้นการเพิ่มความหลากหลายของพืชผัก ไม้ผล ควบคู่ไปกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น การฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองและอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างยั่งยืน
อ่านต่อสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) ได้ดำเนินงานพัฒนาชุมชนบนพื้นที่สูง โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาชุมชนบนพื้นที่สูงให้เกิดการพัฒนาอย่างสมดุลทั้งด้าน เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นการพัฒนาคนและการบริหารจัดการด้านการเกษตร โดยมีแนวคิดสำคัญในการพัฒนาเกษตรกรให้เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) เพื่อรองรับการเกษตรยุค 4.0 โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ในด้านต่างๆ เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ
อ่านต่อ“หอคำหลวง” เป็นส่วนแสดงสำคัญและยิ่งใหญ่ที่สุดในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ เป็นพื้นที่จัดแสดงส่วนกลางที่โดดเด่นและสง่างามที่สุด สร้างเพื่อจัดแสดงพระอัจฉริยภาพด้านการเกษตร ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ผู้ทรงเป็นกษัตริย์นักการเกษตรเอกของโลก และเพื่อเฉลิม พระเกียรติฯ แด่พระองค์ผู้เป็น พระมหากษัตริย์ที่ทรงอัจฉริยภาพและทรงครองสิริราชสมบัติยาวนานที่สุดในโลก
อ่านต่อสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) มีภารกิจสำคัญในการสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสนับสนุนงานโครงการหลวง โดยมีแนวทางการพัฒนาครอบคลุมทั้งด้านบริบทของโลกและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งจะใช้พื้นที่ลุ่มน้ำเป็นขอบเขตในการจัดทำแผ่นแม่บทฯ เพื่อการพัฒนาที่เน้นความสมดุลในมิติทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
อ่านต่อธนาคารอาหารชุมชน (Food Bank) “หนึ่งในพระราชดำริ จากป่าสู่คน เพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน”
อ่านต่อสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) มุ่งมั่นการพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน ตามแนวทางของโครงการหลวง โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักธรรมาภิบาล และการบูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อการพัฒนาอาชีพที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สร้างความเข้มแข็งของคนและชุมชน ร่วมกันอนุรักษ์และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม และนำไปสู่การพัฒนาชุมชนบนพื้นที่สูงให้อยู่ดีมีสุข เกิดการพัฒนาอย่างสมดุล มั่นคง และยั่งยืน
อ่านต่อความแห้งแล้ง(Dryness) คือลักษณะภูมิอากาศที่มีฝนน้อยกว่าปกติ หรือฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาลเป็นระยะเวลานานกว่าปกติ และครอบคลุมพื้นที่บริเวณกว้าง ทำให้เกิดการขาดแคลนน้ำดื่มน้ำใช้ พืชพันธ์ไม้ต่างๆ ขาดน้ำ ทำให้ไม่เจริญเติบโตตาปกติ ส่งผลให้ผู้คนได้รับความเดือดร้อนโดยทั่วไป ความแห้งแล้งเป็นภัยธรรมชาติประเภทหนึ่งที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปีในภูมิภาคต่างๆของโลก
อ่านต่อไฟป่า คือภัยธรรมชาติซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากการกระทำาของมนุษย์ ได้แก่การเผาป่า เผาไร่เพื่อกำาจัดวัชพืช และมีส่วนน้อยที่เกิดจากการเสียดสีของต้นไม้แห้งและฟ้าผ่า ส่วนมากมักจะเกิดในช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์ถึงต้นเดือนพฤษภาคม ทำาให้เกิดมลพิษในอากาศมากขึ้น ผงฝุ่นและควันไฟกระจายไปในอากาศ ไม่สามารถลอยขึ้นเบื้องบนได้ทำาให้การมองเห็นไม่ชัดเจนและเกิดผลเสียต่อสุขภาพ พืชผลทางการเกษตรด้อยคุณภาพแหล่งทรัพยากรโดยเฉพาะป่าไม้ซึ่งมีอยู่ไม่มากในประเทศถูกทำาลายและเหลือน้อยลง
อ่านต่อ