ปัจจุบันทรัพย์สินทางปัญญาที่ สวพส. ยื่นขอรับความคุ้มครองไปแล้วมีทั้งหมด 99 รายการ
การผลิตสมุนไพรในรูปแบบชาชงดื่ม เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายในกลุ่มผู้บริโภคสมุนไพร นอกจากจะดื่มง่าย ยังช่วยบำรุงสุขภาพ
แกงแคเป็นอาหารภาคเหนือที่นิยมกันมากชนิดหนึ่ง เป็นแกงรวมผักหลายชนิด มีคุณค่าทางโภชนาการสูง ผักที่ใช้สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามฤดูกาล
คาร์บอนไดออกไซต์ มีเทน ซึ่งเป็นสาเหตุให้สภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง และภาวะโลกร้อน
อาโวกาโด เป็นไม้ผลเขตร้อนของประเทศในทวีปอเมริกากลาง มูลนิธิโครงการหลวงได้นำอาโวกาโดมาส่งเสริมให้เกษตรกร
ชุมชนบนพื้นที่สูงในภาคเหนือมีการใช้ประโยชน์จากหวายซึ่งเป็นพืชท้องถิ่นในแง่การบริโภคและใช้สอยภายในครัวเรือน
ไผ่ เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าต่อการดำรงชีวิตของคนไทยมาช้านาน ซึ่งทุกส่วนของไผ่ตั้งแต่ราก ลำต้น ไปจนถึงยอด สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ทั้งสิ้น
เสียงลุงติ๊บที่บอกว่า “เฮาบ่มีเงินมีทอง แต่เฮามีข้าวมีน้ำเลี้ยงอาจารย์ มาที่นี่บ่ต้องกลัวอด บ่ต้องกลัวอยาก”
เมื่อเริ่มเข้าสู่ฤดูฝนเราจะพบว่ามีเห็ดมากมายหลายชนิดถูกนำออกมาวางขายตามข้างทางหรือในตลาด มีทั้ง เห็ดห้า (ตับเต่า) เห็ดโคน เห็ดถอบ (เห็ดเผาะ) เห็ดแดง เห็ดหล่ม เห็ดขมิ้น เห็ดไข่
ครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมกับ สวพส. ร้อยละ 90 ในพื้นที่ขุนสถานมีรายได้จากภาคการเกษตร
เฮมพ์ (Hemp) หรือกัญชง จัดเป็นพืชเส้นใยที่มีคุณภาพ มีคุณสมบัติยืดหยุ่น ทนทาน
ชาวไทยภูเขาบนพื้นที่สูงของไทยนิยมปลูกข้าวเพื่อเป็นอาหารหลักสำหรับบริโภค ซึ่งทุกชุมชนปลูกข้าวเพื่อยังชีพสร้างความมั่นคงทางด้านอาหาร
ปัญหาหมอกควันจากการเผาป่าที่ปกคลุมภาคเหนือตอนบนช่วงฤดูแล้งของทุกปี ไม่เพียงส่งผลกระทบสุขภาพประชาชนในทุกพื้นที่ที่หมอกควันปกคลุมถึง แต่การเผาป่ายังทำให้หน้าดินในพื้นที่เกิดไฟป่าซ้ำซากขาดความสมบูรณ์และพังทลาย
นโยบายการพัฒนาเกษตรกรไทยให้ก้าวสู่การเป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง